รายชื่อผู้ชนะการประกวดนวัตกรรมผลิตภัณฑ์อาหารและเครื่องดื่ม GI ต่ำ
ภายใต้หัวข้อ “Glycemic Index (GI) Innovation Contest 2023”
ศูนย์ทดสอบค่าดัชนีน้ำตาล
ให้บริการทดสอบ รับรองค่า GI ของผลิตภัณฑ์
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ศูนย์ทดสอบค่าดัชนีน้ำตาล
ให้บริการทดสอบทางคลีนิคเพื่อการกล่าวอ้างเชิงสุขภาพ
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
อาหารแต่ละมื้อของคุณนั้นจะมีค่า GI มากหรือน้อย เท่าไหร่
ศูนย์ทดสอบค่าดัชนีน้ำตาล สามารถตรวจสอบค่า GI ได้
GI คืออะไร?
“GLYCEMIC INDEX”
ค่าดัชนีน้ำตาล เป็นตัวเลขที่บ่งบอกถึงความเร็ว
ของอาหารหลังรับประทานและถูกซึมเข้าสู่ร่างกาย
เปลี่ยนน้ำตาลได้ช้าหรือเร็ว
เมื่อเปรียบเทียบกับน้ำตาลกลูโคสที่ดูดซึมได้เร็วที่สุด (ซึ่งค่าดัชนีน้ำตาลเท่ากับ 100)
ในเบื้องต้น ค่า Glycemic Index สามารถแบ่งได้ 3 ระดับ (สูง กลาง ต่ำ)
ระดับสูง (70 ขึ้นไป) อาหารในกลุ่มนี้ ควรรับประทานอย่างจำกัด
ระดับกลาง (56-69) ผู้ที่อยู่ในกลุ่มเสี่ยงของโรคเบาหวานและโรคหัวใจ
ระดับต่ำ (0-55) ระดับต่ำมักปลอดภัยสำหรับคนทุกกลุ่ม
อาหารที่มีค่าดัชนี น้ำตาลสูง
สำหรับประทานอาหารที่มีค่าดัชนี น้ำตาลสูง เป็นประจำ
จะกระตุ้นให้ร่างกายจะเกิดภาวะดื้ออินซูลินและเกิดเป็นภาวะโรคเบาหวาน ในอนาคต
PRESENT
GLYCEMIC INDEX CENTER
โครงการศูนย์ทดสอบดัชนีน้ำตาล (GIC) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ได้รับงบประมาณ
สนับสนุนการเริ่มโครงการโดยมีเครื่อข่ายพันธมิตรที่ร่วมโครงการ ได้แก่
บริการจากเรา
SERVICES
บริการทดสอบค่า GI
ในผลิตภัณฑ์
บริการทดสอบทางคลินิก
เพื่อการกล่าวอ้างเชิงสุขภาพ
บริการให้คำปรึกษาพัฒนา
โครงการวิจัยอาหารเชิงนวัตกรรม
เป็นการทดสอบโดยการ จําลองสภาวะการย่อยภายในร่างกายของมนุษย์ แต่ดําเนินการในหลอดทดลอง โดยนําตัวอย่างอาหารมาทํา การบดลดขนาด จากนั้นย่อยด้วยเอนไซม์ต่าง ๆ ตามลําดับ จําลองคล้ายกับระบบทางเดินอาหารของมนุษย์ วัดปริมาณน้ําตาลกลูโคสที่ได้จากการย่อย คํานวณหาค่าดัชนีน้ําตาลโดยประมาณ โดยใช้หลักการเดียวกันกับการทดสอบในอาสาสมัคร คือเปรียบเทียบกับอาหารอ้างอิง วิธีการทดสอบในสภาวะจําลองถึงแม้ว่าจะไม่สามารถนําผลการทดสอบไปใช้อ้างอิงได้ แต่มีความยุ่งยากและซับซ้อนน้อยกว่าวิธีการทดสอบในมนุษย์ เหมาะสําหรับ การทดสอบในลักษณะของงานประจําเพื่อการควบคุมคุณภาพ หรืองานวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ เพื่อให้ทราบค่าดัชนีน้ําตาลอย่างคร่าว ๆ ก่อนที่จะนําไปยืนยันผลโดยวิธีมาตรฐานต่อไป
เป็นการทดสอบโดยให้อาสาสมัครบริโภคอาหารที่ ต้องการทดสอบและอาหารอ้างอิง จากนั้นตรวจวัดปริมาณน้ำตาลในเลือด นํามาคํานวณหาค่าดัชนีน้ําตาล วิธีการนี้เป็นวิธีมาตรฐานที่ได้รับการยอมรับ และองค์กรมาตรฐานสากล ได้แก่ International Organization for Standardization (ISO) ได้จัดทําเป็นมาตรฐานสากล คือ ISO 26642 : 2010 Food products - Determination of the glycaemic index (GI) and recommendation for food classification
บริการวิจัยเพื่อการนำไปอ้างอิงในการกล่าวอ้างเชิงพาณิชย์ เช่น การทดสอบผลิตภัณฑ์ในระดับต่างๆ ตั้งแต่ระดับ เซลล์ เนื้อเยื่อ (in vitro) ไปจนถึงการศึกษาในสิ่งมีชีวิต ทั้งในสัตว์ทดลองและมนุษย์ (in vivo),บริการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารต้นแบบเพื่อโภชนาการตามโจทย์ของผู้ใช้บริการบริการแก่ภาคเอกชนในการนำผลงานวิจัยและนวัตกรรมของหน่วยงานไปต่อยอดในเชิงพาณิชย์, ให้คำปรึกษาด้านการวิจัย การวางแผนการวิจัย
QUICK LINK
Copyright © 2023 Glycemic Index Center GIC CMU